วันจันทร์ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2557

ปราสาทผึ้ง




ปราสาทผึ้ง
                             


   ประวัติความเป็นมา
   การแห่ปราสาทผึ้ง เป็นประเพณีสำคัญงานหนึ่งในฮีตเดือนสิบเอ็ด การแห่ปราสาทผึ้งนั้นเป็นการถวายแด่องค์พระธาตุเชิงชุม สำหรับตำนานของการทำปราสาทผึ้ง มาจากคติที่เชื่อว่าเป็นการทำบุญเพื่อให้ได้ไปเกิดในภพหน้า เช่น การไปเกิดในสวรรค์ก็จะมีปราสาทอันสวยงามแวดล้อมด้วยนางฟ้าเป็นบริวาร ถ้าเกิดใหม่ในโลกมนุษย์จะมีแต่ความมั่งมีศรีสุขแต่ปัจจุบันคนอีสานถือว่าประเพณีนี้เป็นการร่วมงานบุญบนความรื่นเริงอันยิ่งใหญ่ในรอบปี เนื่องจากเป็นช่วงที่ว่างจากงาน
และตามตำนานอีกเรื่องหนึ่งมีว่า ในสมัยพุทธกาลเมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จไปจำพรรษาเป็นปีที่ 7 บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ประทับที่บัณฑุกัมพลศิลาอาสน์ ทรงแสดงอภิธรรมปฏิกรณ์แก่พุทธมารดา เป็นการตอบแทนพระคุณจนกระทั่งบรรลุถึงโสดาบัน ครั้นถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ซึ่งเป็นวัน “มหาปวารณาออกพรรษา พระพุทธเจ้ากำหนดเสด็จสู่เมืองมนุษย์ พระอินทร์จึงเนรมิตบันได 3 ชนิด คือ….
บันไดทองคำ     อยู่เบื้องขวา    สำหรับทวยเทพเทวดาลง
บันไดเงิน          อยู่เบื้องซ้าย    สำหรับพระพรหมลง
บันไดแก้วมณี   อยู่ตรงกลาง    เพื่อให้พระพุทธองค์เสด็จ
          เชิงบังไดทั้ง 3 นี้ ตั้งอยู่ที่ประตูเมืองสังกัสสนครในโลกมนุษย์ หัวบันไดอยู่ที่เขาสิเนคุราช บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ก่อนเสด็จลงพระพุทธเจ้าประทับยืนบนบอดเขาสิเนรุราช ทำ “โลกนิวรณ์ปาฏิหาริย์” โดยทรงแลดูเบื้องบนปรากฏมีเนินเป็นอันเดียวกันถึงพรหมโลก ทรงแลดูข้างล่างก็ปรากฏมีเนินเป็นอันเดียวกันถึงอเวจีนคร ทรงแลดูรอบทิศจักรวาลหลายแสน ก็ปรากฏเนินอันเดียวกัน (สวรรค์ มนุษย์ และนคร ต่างมองเห็นกัน) ซึ่งเรียกวันนี้ว่า “วันพระเจ้าเปิดโลก”
ครั้นแล้วพระพุทธองค์เสด็จลงทางบันไดแก้วมณี ท้าวมหาพรหมกั้นเศวตฉัตร บรรดาเทวดาลงบันไดทองคำทางช่องขวา มหาพรหมลงทางบันไดเงินเบื้องซ้าย มีมาตุลีเทพบุตรถือดอกไม้ของหอมติดตาม ครั้นเสด็จถึงประตูเมืองสังกัสสนครทรงประทับพระบาทเบื้องขวาลงก่อน นาค มนุษย์ และนรก ต่างชื่นชมปลื้มปิติในพระพุทธบารมี เกิดเลื่อมใสในบุญกุศลจนเกิดจินตนาการ เห็นปราสาทสวยงามใคร่จะไปอยู่ จึงรู้ชัดว่าการที่จะได้ไปอยู่ปราสาทอันสวยงามนั้นต้องสร้างบุญกุศล ประพฤติปฏิบัติอยู่ในหลักศีลธรรมอันดี ทำบุญตักบาตร สร้างปราสาทกองบุญนั้นในเมืองมนุษย์เสียก่อนจึงจะไปได้ จากนั้นเป็นต้นมาผู้มีจิตศรัทธาในพระพุทธศาสนา จึงพากันคิดสร้างสรรค์ทำบุญปราสาทให้มีรูปร่างเหมือนวิมานบนสวรรค์ มีลวดลายวิจิตรสวยงามตามยุคตามสมัยสืบต่อมา บางแห่งก็ถือว่าสร้างปราสาทผึ้งสำหรับรับเสด็จพระพุทธเจ้าเมื่อเสด็จมายังโลกมนุษย์ไปสู่ที่ประทับ
เหตุที่มีการนำเอาขี้ผึ้งมาทำเป็นปราสาทนั้น สืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ในสมัยพุทธกาลเช่นเดียวกันซึ่งในหนังสือธรรมบทภาค 1 กล่าวว่าเมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จไปจำพรรษาที่ดงไม้สาละใหญ่ ที่ป่ารักขิตวัน ใกล้บ้านปาลิไลยก์ในพรรษาที่ 9 โดยช้างปาลิไลยก์กับลิงเป็นผู้อุปัฏฐากไม่มีมนุษย์อยู่เลยตลอด 3 เดือน ช้างจัดน้ำและผลไม้มาถวาย ส่วนลิงหารวงผึ้งมาถวาย เมื่อพระองค์ทรงรับแล้วเสวยลิงเห็นก็ดีใจมากไปจับกิ่งไม้เขย่าด้วยความดีใจ บังเอิญกิ่งไม้หักลิงนั้นตกลงมาถูกตอเสียบอกตาย และได้ไปเกิดเป็นเทพบุตรบนปราสาทวิมานสูง 30 โยชน์ ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
          ครั้นถึงวันมหาปวารณาออกพรรษา พระพุทธเจ้าตรัสลาช้างแล้วเสด็จเข้าสู่เมืองโกสัมพี ต่อไปช้างคิดถึงพระพุทธเจ้ามากจนหัวใจแตกสลาย ไปเกิดบนปราสาทวิมานสูง 30 โยชน์ พระพุทธเจ้าทรงนึกถึงคุณความดีของช้างและลิง จึงทรงนำเอารวงผึ้งมาทำเป็นดอกประดับในโครงปราสาทตามจินตนาการเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่ช้างและลิง
ในกาลต่อมา ชาวพุทธจึงได้ถือเป็นแนวทางจัดสร้างปราสาทผึ้ง เพื่อถวายเป็นพุทธบูชาและสร้างกุศลสืบมา โดยถือเอาวันออกพรรษาเป็นวันประเพณีถวายปราสาทผึ้ง ปัจจุบันประเพณีถวายปราสาทผึ้งยังมีอยู่ในภาคอีสานหลายจังหวัด แต่จังหวัดที่มีการถวายปราสาทผึ้ง โดยจัดขบวนแห่อย่างยิ่งใหญ่ ได้แก่ จังหวัดสกลนคร การแห่ปราสาทผึ้งของชาวสกลนครนี้กล่าวกันว่ามีมาตั้งแต่ครั้งสมัย พระเจ้าสุวรรณภิงคารโปรดให้ข้าราชบริพารจัดทำ “ต้นเผิ่ง” (ต้นผึ้ง) ขึ้นในวันออกพรรษาแล้วแห่แหนไปยังวัดพระธาตุเชิงชุมเป็นพุทธบูชา ชาวสกลนครจึงยังคงสืบทอดปฏิบัติมาจนทุกวันนี้ ในงานนี้นอกจากจะมีการแห่ปราสาทผึ้งแล้วยังมีการแข่งเรือด้วย
ส่วนความเชื่อในการสร้างปราสาทผึ้งจากเรื่องไตรภูมิในพุทธศาสนา ซึ่งเป็นคำสอนที่มีปรากฏในคัมภีร์พุทธศาสนาที่ว่าด้วยการที่มนุษย์ต้องเวียนว่ายตายเกิดในโลกภูมิต่างๆ ที่มีวิมานปราสาทเป็นเรือนที่อยู่อาศัยอย่างสะดวกสบาย และยังมีกล่าวในคัมภีร์มาเลยยเทวัตเถรวัตถุที่ได้กล่าวถึงพระมาลัยอรหันต์ ซึ่งเป็นพุทธสาวกองค์หนึ่ง ขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่เคยไปเทศนาโปรดสัตว์ในนรกภูมิ และได้เสด็จขึ้นไปบนสวรรค์ เพื่อไหว้องค์พระโพธิสัตว์ศรีอาริยเมตไตรยที่จะเสด็จมาตรัสรู้เป็นองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในอนาคตกาล หลังจากนั้นพระมาลัยอรหันต์ได้เทศนาโปรดแก่พุทธศาสนิกชน เพื่อให้ทราบถึงวิธีการสร้างบุญกุศล เพื่อที่จะได้ไปเกิดบนสวรรค์ รวมทั้งการสร้างอาคารศาสนสถานถวายเป็นพุทธบูชานั้นเป็นหนทางหนึ่งที่เป็นอานิสงส์นำพาให้ได้ไปเกิดบนสวรรค์ มีวิมานเป็นที่อยู่อาศัย และมีเหล่านางฟ้าเป็นบริวาร
ความเชื่อเรื่องภูตผีวิญญาณ เป็นความเชื่อพื้นบ้านที่ทำให้ชาวอีสาน ถือเป็นปรัชญาคติที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการสร้างปราสาทผึ้ง คือ ความเชื่อที่ว่าคนที่ตายไปแล้วดวงวิญญาณก็ยังต้องการสิ่งต่างๆ เช่นเดียวกับเมื่อครั้งที่ยังมีชีวิตอยู่เป็นคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการต้องการที่อยู่อาศัย ด้วยเหตุดังกล่าวทำให้มีการประกอบพิธีเซ่นสรวงดวงวิญญาณ ตลอดจนการสร้างเรือนจำลองในลักษณะของศาลหรือหอผี เพื่ออุทิศส่วนกุศล จากการสร้างปราสาทผึ้งแก่ดวงวิญญาณบรรพบุรุษ หรือจ้ากรรมนายเวรผู้ล่วงลับ
          นอกจากนี้ยังมีกล่าวไว้ในตำนานเรื่องหนองหาน (สกลนคร)ว่า ในสมัยขอมเรืองอำนาจและครองเมืองหนองหาน ในแผ่นดินพระเจ้าสุวรรณภิงคาร ได้โปรดให้ข้าราชบริพารทำต้นผึ้งหรือปราสาทผึ้งในวันออกพรรษา เพื่อแห่คบงันที่วัดเชิงชุม (วัดพระธาตุเชิงชุมวรมหาวิหาร) จากนั้นเมืองหนองหานได้จัดปราสาทผึ้งต่อกันมาทุกปี
ส่วนในสมัยรัตนโกสินทร์ มีพระนิพนธ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เรื่องเที่ยวที่ต่างๆ ภาค 4 ว่าด้วยมณฑลนครราชสีมา มณฑลอุดร และมณฑลร้อยเอ็ด เมื่อ ร.ศ.125 (2449) มีความตอนหนึ่งกล่าวถึงการแห่ปราสาทผึ้งรอบองค์พระธาตุพนม เมืองนครพนมดังนี้
“เวลาบ่าย 4 โมง ราษฏร์แห่ปราสาทผึ้งและบ้องไฟ (บั้งไฟ) เป็นกระบวนใหญ่เข้าประตูชาลามหาเศรษฐี ด้านตะวันตก แห่ประทักษิณองค์พระธาตุสามรอบ กระบวนแห่นั้นคือ ผู้ชายและเด็กเดินข้างหน้าหมู่หนึ่ง แล้วมีพิณพาทย์ต่อไปถึงบุษบกมีเทียนขี้ผึ้งใหญ่ 4 เล่มในบุษบก แล้วมีรถบ้องไฟ (บั้งไฟ) ต่อมามีปราสาทผึ้ง คือ แต่งหยวกกล้วยเป็นรูปปราสาทแล้วมีดอกไม้ ทำขี้ผึ้งเป็นเครื่องประดับ มีพิณพาทย์ ฆ้องกลอง แวดล้อมแห่มา และมีชายหญิงเดินตามเป็นตอนๆ กันหลายหมู่ และมีกระจาดประดับประดา อย่างกระจาดผ้าป่าห้อยด้วยไส้เทียน และไหมเข็ด เมื่อกระบวนแห่ครบสามรอบแล้ว ได้นำปราสาทผึ้งไปตั้งถวายพระมหาธาตุ ราษฎร์ก็นั่งประชุมกันเป็นหมู่ๆ ในลานพระมหาธาตุคอยข้าพเจ้าจุดเทียนนมัสการ แล้วรับศีลด้วยกัน พระสงฆ์มีพระครูวิโรจน์รัตโนบลเป็นประธานเจริญพระพุทธมนต์ เวลาค่ำมีการเดินเทียนและจุดบ้องไฟ ดอกไม้พุ่ม และมีเทศน์กัณฑ์หนึ่ง”  จากพระนิพนธ์ดังกล่าวเห็นได้ว่า ประเพณีแห่ปราสาทผึ้งได้มีการถือปฏิบัติมาช้านานแล้ว และมีความเกี่ยวข้องกับความเชื่อทางศาสนาด้วย

  กำหนดงาน
          จัดตั้งแต่ วันขึ้น 10-14 ค่ำ ส่วนวันแห่คือวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ของทุกปี ณ วัดพระธาตุเชิงชุมวรมหาวิหาร อำเภอเมือง  
 กิจกรรม / พิธี
          รูปทรงของปราสาทผึ้ง สามารถแบ่งตามลักษณะได้ 4 แบบ คือ ปราสาทผึ้งทรงพระธาตุ ทรงหอผี ทรงบุษบก และทรงจตุรมุข
1. ปราสาทผึ้งทรงพระธาตุ ลักษณะโดยรวมคลายกับพระสถูปเจดีย์ หรือพระธาตุที่ปรากฏในบริเวณภาคอีสาน และประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว คือ เป็นเจดีย์ทรงสี่เหลี่ยม หรือบางทีเรียกว่า เจดีย์ทรงดอกบัวเหลี่ยม เช่นพระธาตุพนม พระธาตุเชิงชุม พระธาตุศรีสองรัก พระธาตุบังพวน เป็นต้น ปราสาทผึ้งรูปทรงนี้จากหลักฐานภาพถ่ายจากกองจดหมายเหตุแห่งชาติ สันนิษฐานว่า น่าจะมีการกระทำอยู่ในช่วง พ.ศ.2449 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน
2. ปราสาทผึ้งทรงหอผี เป็นปราสาทผึ้งที่สร้างขึ้นเลียนแบบอาคารเรือนที่อยู่อาศัยแบบพื้นเมืองของชาวอีสาน แต่สร้างให้มีขนาดเล็กเป็นลักษณะของเรือนจำลอง ปราสาทผึ้งแบบทรงหอผีมีลักษณะเช่นเดียวกับศาลพระภูมิ ศาลมเหศักดิ์ หรือศาลปู่ตา ตามหมู่บ้านต่างๆ ในชนบท ซึ่งศาลต่างๆ เหล่านั้นมีลักษณะโดยรวมจำลองรูปแบบมาจากอาคารเรือนที่อยู่อาศัย การสร้างปราสาทผึ้งทรงหอผีได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย เมื่อประมาณปี พ.ศ.2473 เป็นต้นมาถึงปัจจุบัน
3.  ปราสาทผึ้งทรงบุษบก เป็นปราสาทที่สร้างขึ้นจำลองจากบุษบก บุษบกเป็นเรือนเครื่องยอดขนาดเล็ก หลังคาทรงมณฑป ตัวเรือนโปร่ง มีฐานทึบ และเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ลักษณะคล้ายกับบุษบกธรรมาสน์ ชาวอีสานเรียกว่า หอธรรมาสน์ หรือ ธรรมาสน์เทศน์
4.  ปราสาทผึ้งทรงจตุรมุข เป็นปราสาทผึ้งที่จำลองแบบมาจากปราสาทราชมณเฑียรในพระบรมมหาราชวัง เป็นอาคารจำลองขนาดเล็กทรงจตุรมุข มีแผนผังเป็นรูปกากบาท มีสันหลังคาจั่ว ชั้นบนอยู่ในระดับเดียวกัน และออกมุขเสมอกันทั้งสี่ด้าน ที่หลังคามีจั่ว หรือหน้าบันประจำมุขด้านละจั่วหรือด้านละหนึ่งหน้าบัน ด้วยเหตุที่มีการออกมุขทั้งสี่ด้าน และประกอบด้วยหน้าบันสี่ด้าน จึงเรียกว่าทรงจตุรมุข ซึ่งเป็นอาคารที่มีเรือนยอดเป็นชั้นสูง เช่นเดียวกับอาคารประเภทบุษบก และมีการออกมุขทั้งสี่ด้านที่หลังคาทรงจั่ว
งานเริ่มจากวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 เรียกว่า วันโฮม หรือวันรวม เป็นการรวบรวมปราสาทผึ้งจากคุ้มวัดต่างๆ ที่บริเวณวัด แต่ละคุ้มจะประจำอยู่ซุ้มของตัวเองรอบๆ กำแพงวัด และพอถึงวันรุ่งขึ้นซึ่งเป็นวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 มีการทำบุญตักบาตร เสร็จแล้วก็จะจัดขบวนแห่ปราสาทผึ้ง ในแต่ละขบวนแห่ด้วยเกวียน แต่ใช้คนลากแทนวัว แต่ละปราสาทผึ้งมีนางฟ้าหรือเทพีนั่งอยู่ตอนหน้าของเกวียน ตรงกลางเป็นปราสาทผึ้ง ขบวนแห่มีพิณ กลอง ฆ้อง ตามด้วยขบวนคนหนุ่มคนสาว และคนเฒ่าคนแก่ ถือ ธูปเทียน ประนมมือ แห่ครบ 3 รอบ ก็ถวายแก่ทางวัด
ปัจจุบันการทำปราสาทผึ้งและขบวนแห่เปลี่ยนแปลงไปมาก รูปทรงของปราสาทผึ้งและการประดับประดาวิจิตรพิสดาร มีการออกแบบลวดลายต่างๆ ไม่เหมือนในอดีต ขบวนแห่ที่เคยใช้เกวียนก็เปลี่ยนมาใช้รถยนต์แทน และเปลี่ยนสถานที่รวมขบวนจากบริเวณวัดเป็นสนาม ขบวนแห่ยาวเป็นกิโลเมตร มีสิ่งใหม่ๆ เพิ่มในขบวนแห่ปราสาทผึ้ง คือ การแสดงเกี่ยวกับประเพณีโบราณของชาวอีสาน เช่น รำมวยโบราณ ฟ้อนผู้ไท โส้ทั่งบั้ง บุญข้าวสาก บุญข้าวประดับดิน การตำข้าว การปรุงยาสมัยโบราณ การแข่งเรือ และการแสดงความเชื่อทางไสยศาสตร์ เช่น การไล่ผีปอบ การปลุกพระ ตลอดถึงการแสดงนรก สวรรค์
ประเพณีแห่ปราสาทผึ้งที่ถือปฏิบัติในวันออกพรรษามีอยู่สี่แห่ง ได้แก่ อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย อำเภอเมือง  จังหวัดนครพนม,  อำเภอเมือง  จังหวัดหนองคาย,  และอำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร

วันศุกร์ที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2557

ลานหินปุ่ม




ลานหินปุ่ม



อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้าตั้งอยู่บนรอยต่อของสามจังหวัด คือ อ.ด่านซ้าย จังหวัดเลย อ.นครไทย จังหวัดพิษณุโลก และอ.หล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ มีเนื้อที่ประมาณ 191,875 ไร่ ประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติ เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2527 เป็นพื้นที่ที่มีธรรมชาติแปลกและสวยงาม ทั้งยังเป็นดินแดนแห่งประวัติศาสตร์ เป็นยุทธภูมิที่สำคัญ อันเนื่องจากความขัดแย้งของลัทธิและแนวความคิดทางการเมือง อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้าจึงเป็นอุทยานแห่งชาติเพียงแห่งเดียวในประเทศไทยที่รักษาไว้ซึ่งประวัติศาสตร์ของการสู้รบ และความสวยงามทางธรรมชาติที่สมบูรณ์ ลักษณะภูมิอากาศภูหินร่องกล้ามีลักษณะภูมิอากาศคล้ายภูกระดึงและภูหลวง เนื่องจากมีความสูงในระดับไล่เลี่ยกัน อากาศจะหนาวเย็นเกือบตลอดปี โดยเฉพาะในฤดูหนาว อุณหภูมิจะต่ำประมาณ 4 องศาเซลเซียส ฤดูร้อนอากาศจะเย็นสบาย ฝนตกชุกในฤดูฝน อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี ประมาณ 18-25 องศาเซลเซียส 


สถานที่ท่องเที่ยว - ลานหินปุ่ม

ลานหินปุ่ม อยู่ห่างจากที่ทำการอุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า ประมาณ 4 กม. อยู่ริมหน้าผา ลักษณะลานหินซึ่ง มีหินผุดขึ้นมาเป็นปุ่มเป็นปมขนาดไล่เลี่ยกัน คาดว่าเกิดจากการสึกกร่อนตามธรรมชาติของหิน ในอดีตบริเวณนี้ใช้เป็นที่พักฟื้นของคนไข้ของโรงพยาบาล เนื่องจากอยู่บนหน้าผา มีลมพัดเย็นสบาย 

la fondue




la fondue


La Fondue offers a unique fondue experience serving over 50 different types of fondues. We offer a “chill out” dining experience, a little bit glamorous, a little bit classic. Try our Wild Game, Kobe Flat Iron, or Private Reserve Filet Mignon cooked in one of our 5 cooking methods. Then top off your evening with a decadent chocolate fondue dessert!









วันจันทร์ที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2557

De la fontaine



De la fontaine


Early years[edit]

La Fontaine was born at Château-Thierry in France. His father was Charles de La Fontaine, maître des eaux et forêts - a kind of deputy-ranger - of the duchy ofChâteau-Thierry; his mother was Françoise Pidoux. Both sides of his family were of the highest provincial middle class; though they were not noble, his father was fairly wealthy.[1]
Jean, the eldest child, was educated at the collège (grammar school) of Reims, and at the end of his school days he entered the Oratory in May 1641, and the seminary of Saint-Magloire in October of the same year; but a very short sejourn proved to him that he had mistaken his vocation. He then apparently studied law, and is said to have been admitted as avocat (lawyer).

Family life[edit]

He was, however, settled in life, or at least might have been so, somewhat early. In 1647 his father resigned his rangership in his favor, and arranged a marriage for him with Marie Héricart, a girl of sixteen, who brought him 20,000 livres, and expectations. She seems to have been both beautiful and intelligent, but the two did not get along well together. There appears to be absolutely no ground for the vague scandal as to her conduct, which was, for the most part, raised long afterwards by gossip or personal enemies of La Fontaine. All that can be positively said against her is that she was a negligent housewife and an inveterate novel reader; La Fontaine himself was constantly away from home, was certainly not strict in point of conjugal fidelity, and was so bad a man of business that his affairs became involved in hopeless difficulty, and a separation de biens had to take place in 1658. This was a perfectly amicable transaction for the benefit of the family; by degrees, however, the pair, still without any actual quarrel, ceased to live together, and for the greater part of the last forty years of La Fontaine's life he lived in Paris while his wife dwelt at Chateau Thierry, which, however, he frequently visited. One son was born to them in 1653, and was educated and taken care of wholly by his mother.[2]

Paris[edit]


Title page, vol. 2 of La Fontaine's Fables choisies, 1692 ed.
Even in the earlier years of his marriage La Fontaine seems to have been much in Paris, but it was not until about 1656 that he became a regular visitor to the capital. The duties of his office, which were only occasional, were compatible with this non-residence. It was not until he was past thirty that his literary career began. The reading of Malherbe, it is said, first awoke poetical fancies in him, but for some time he attempted nothing but trifles in the fashion of the time -epigramsballadesrondeaux, etc.
His first serious work was a translation or adaptation of the Eunuchus of Terence (1654). At this time the Maecenas of French writing was the Superintendent Fouquet, to whom La Fontaine was introduced by Jacques Jannart, a connection of his wife's. Few people who paid their court to Fouquet went away empty-handed, and La Fontaine soon received a pension of 1000 livres (1659), on the easy terms of a copy of verses for each quarters receipt. He also began a medley of prose and poetry, entitled Le Songe de Vaux, on Fouquet's famous country house.
It was about this time that his wife's property had to be separately secured to her, and he seems by degrees to have had to sell everything that he owned; but, as he never lacked powerful and generous patrons, this was of small importance to him. In the same year he wrote a ballad, Les Rieurs du Beau-Richard, and this was followed by many small pieces of occasional poetry addressed to various personages from the king downwards.
Fouquet soon incurred the royal displeasure, but La Fontaine, like most of his literary proteges, was not unfaithful to him, the well-known elegy Pleurez, Nymphes de Vaux, being by no means the only proof of his devotion. Indeed it is thought not improbable that a journey to Limoges in 1663 in company with Jannart, and of which we have an account written to his wife, was not wholly spontaneous, as it certainly was not on Jannart's part.
Just at this time his affairs did not look promising. His father and he had assumed the title of esquire, to which they were not strictly entitled, and, some old edicts on the subject having been put in force, an informer procured a sentence against the poet fining him 2000 livres. He found, however, a new protector in the duke and still more in the Duchess of Bouillon, his feudal superiors at Chateau Thierry, and nothing more is heard of the fine.
Some of La Fontaine's liveliest verses are addressed to the duchess, Marie Anne Mancini, the youngest of Mazarin's nieces, and it is even probable that the taste of the duke and duchess for Ariosto had something to do with the writing of his first work of real importance, the first book of the Contes, which appeared in 1664. He was then forty-three years old, and his previous printed productions had been comparatively trivial, though much of his work was handed about in manuscript long before it was regularly published.

Fame[edit]

It was about this time that the quartet of the Rue du Vieux Colombier, so famous in French literary history, was formed. It consisted of La Fontaine, RacineBoileau and Molière, the last of whom was almost of the same age as La Fontaine, the other two considerably younger. Chapelain was also a kind of outsider in the coterie. There are many anecdotes, some pretty obviously apocryphal, about these meetings. The most characteristic is perhaps that which asserts that a copy of Chapelain's unlucky Pucelle always lay on the table, a certain number of lines of which was the appointed punishment for offences against the company. The coterie furnished under feigned names the personages of La Fontaine's version of the Cupid and Psyche story, which, however, with Adonis, was not printed till 1669.

Portrait of La Fontaine attributed to François de Troy
Meanwhile the poet continued to find friends. In 1664 he was regularly commissioned and sworn in as gentleman to the duchess dowager of Orléans, and was installed in the Luxembourg. He still retained his rangership, and in 1666 we have something like a reprimand from Colbert suggesting that he should look into some malpractices at Chateau Thierry. In the same year appeared the second book of the Contes, and in 1668 the first six books of the Fables, with more of both kinds in 1671. In this latter year a curious instance of the docility with which the poet lent himself to any influence was afforded by his officiating, at the instance of the Port-Royalists, as editor of a volume of sacred poetry dedicated to the Prince of Conti.

Facsimile of one of the very few manuscripts by Jean de La Fontaine
A year afterwards his situation, which had for some time been decidedly flourishing, showed signs of changing very much for the worse. The duchess of Orléans died, and he apparently had to give up his rangership, probably selling it to pay debts. But there was always a providence for La Fontaine. Madame de la Sablière, a woman of great beauty, of considerable intellectual power and of high character, invited him to make his home in her house, where he lived for some twenty years. He seems to have had no trouble whatever about his affairs thenceforward; and could devote himself to his two different lines of poetry, as well as to that of theatrical composition.

Academy[edit]


The original fables of La Fontaine, edited by Frederick Colin Tilney (1865–1951)
In 1682 he was, at more than sixty years of age, recognized as one of the foremost men of letters of France.Madame de Sévigné, one of the soundest literary critics of the time, and by no means given to praise mere novelties, had spoken of his second collection of Fables published in the winter of 1678 as divine; and it is pretty certain that this was the general opinion. It was not unreasonable, therefore, that he should present himself to the Académie française, and, though the subjects of his Contes were scarcely calculated to propitiate that decorous assembly, while his attachment to Fouquet and to more than one representative of the old Frondeur party made him suspect to Colbert and the king, most of the members were his personal friends.
He was first proposed in 1682, but was rejected for Marquis de Dangeau. The next year Colbert died and La Fontaine was again nominated. Boileau was also a candidate, but the first ballot gave the fabulist sixteen votes against seven only for the critic. The king, whose assent was necessary, not merely for election but for a second ballot in case of the failure of an absolute majority, was ill-pleased, and the election was left pending. Another vacancy occurred, however, some months later, and to this Boileau was elected. The king hastened to approve the choice effusively, adding, Vous pouvez incessamment recevoir La Fontaine, il a promis d'etre sage.

A scene from La Fontaine's story Le Gascon Puni by Nicolas Lancret, Musée du Louvre
His admission was indirectly the cause of the only serious literary quarrel of his life. A dispute took place between the Academy and one of its members, Antoine Furetière, on the subject of the latter's French dictionary, which was decided to be a breach of the Academy's corporate privileges. Furetière, a man of no small ability, bitterly assailed those whom he considered to be his enemies, and among them La Fontaine, whose unlucky Contes made him peculiarly vulnerable, his second collection of these tales having been the subject of a police condemnation. The death of the author of the Roman Bourgeois, however, put an end to this quarrel.
Shortly afterwards La Fontaine had a share in a still more famous affair, the celebrated Ancient-and-Modern squabble in which Boileau and Charles Perrault were the chiefs, and in which La Fontaine (though he had been specially singled out by Perrault for favorable comparison with Aesop and Phaedrus) took the Ancient side. About the same time (1685–1687) he made the acquaintance of the last of his many hosts and protectors, Monsieur and Madame d'Hervart, and fell in love with a certain Madame Ulrich, a lady of some position but of doubtful character. This acquaintance was accompanied by a great familiarity with Vendôme, Chaulieu and the rest of the libertine coterie of the Temple; but, though Madame de la Sablière had long given herself up almost entirely to good works and religious exercises, La Fontaine continued an inmate of her house until her death in 1693.
What followed is told in one of the best known of the many stories bearing on his childlike nature. Hervart on hearing of the death, had set out at once to find La Fontaine. He met him in the street in great sorrow, and begged him to make his home at his house. J'y allaiswas La Fontaine's answer. He had already undergone the process of conversion during a severe illness the year before. An energetic young priest, M. Poucet, had brought him, not indeed to understand, but to acknowledge the impropriety of the Contes, and it is said that the destruction of a new play of some merit was demanded and submitted to as a proof of repentance.
A pleasant story is told of the young duke of Burgundy, Fenelon's pupil, who was then only eleven years old, sending 50 louis to La Fontaine as a present of his own motion. But, though La Fontaine recovered for the time, he was broken by age and infirmity, and his new hosts had to nurse rather than to entertain him, which they did very carefully and kindly. He did a little more work, completing hisFables among other things; but he did not survive Madame de la Sablière much more than two years, dying on 13 April 1695 in Paris, at the age of seventy-three. When the Père Lachaise Cemetery opened in Paris, Lafontaine's remains were moved there. His wife survived him nearly fifteen years.

Anecdotes[edit]

The curious personal character of La Fontaine, like that of some other men of letters, has been enshrined in a kind of legend by literary tradition. At an early age his absence of mind and indifference to business gave a subject to Gédéon Tallemant des Réaux. His later contemporaries helped to swell the tale, and the 18th century finally accepted it, including the anecdotes of his meeting his son, being told who he was, and remarking, Ah, yes, I thought I had seen him somewhere!, of his insisting on fighting a duel with a supposed admirer of his wife, and then imploring him to visit at his house just as before; of his going into company with his stockings wrong side out, &c., with, for a contrast, those of his awkwardness and silence, if not positive rudeness in company.
It ought to be remembered, as a comment on the unfavourable description by Jean de La Bruyère, that La Fontaine was a special friend and ally of Benserade, La Bruyere's chief literary enemy. But after all deductions much will remain, especially when it is remembered that one of the chief authorities for these anecdotes is Louis Racine, a man who possessed intelligence and moral worth, and who received them from his father, La Fontaine's attached friend for more than thirty years. Perhaps the best worth recording of all these stories is one of the Vieux Colombier quartet, which tells how Molière, while Racine and Boileau were exercising their wits upon le bonhomme or le bon (by both which titles La Fontaine was familiarly known), remarked to a bystander, Nos beaux esprits ont beau faire, ils n'effaceront pas le bonhomme. They have not.